directions_run

หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


“ หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0052 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

  1. เพื่อให้ครูปฐมวัยได้รับการพัฒนาทักษะเดิม (up-skill) ในด้านสมรรถนะหลัก (core competency) ที่เป็นคุณลักษณะของครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21
  2. เพื่อให้ครูปฐมวัยได้รับการปรับปรุงทักษะ (re-skill) ในด้านสมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (functional competency) ที่สามารถออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างเครือข่ายชุมชนวิชาชีพในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการบวนการ PLC (Professional Learning Community)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. ครูได้รับการพัฒนาทักษะเดิม (up-skill) โดยการพัฒนาสมรรถนะในด้านสมรรถนะหลัก (core competency)
2. ครูได้รับการสร้างทักษะใหม่ (re-skill) โดยการพัฒนาสมรรถนะตามสายปฏิบัตงาน (functional competency)
3. เกิดหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 สำหรับเด็กปฐมวัย
4. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 จากการฝึกปฏิบัติของครูปฐมวัย
5. ครูมีการสร้างเครือข่ายชุมชนวิชาชีพในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการบวนการ PLC (Professional Learning Community)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
1) การประชุมคณาจารย์ผู้สอนรายวิชาในหลักสูตร พัฒนาเทคนิคในการจัดการเรียนการสอนร่วมกันเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มผู้เรียนมากยิ่งขึ้น
2) การประชุมเพื่อปรับรูปแบบการฝึกปฏิบัติให้มีความสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายในแต่ละบริบทพื้นที่ โดยจัดประชุมภายหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน
3) การประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อพิจารณาวางแผนการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป

ผู้สอนและผู้นิเทศ
1) การประเมินผลการสอนโดยผู้เข้าร่วมอบรมในด้านต่างๆ ได้แก่ ความสามารถในการถ่ายทอด/สื่อสาร เนื้อหาสาระครบถ้วนและน่าสนใจ สื่อประกอบการสอน การเปิดโอกาสให้ซักถามและแสดงความคิดเห็น การตอบคำถามในรายวิชา และนำผลการประเมินมาวิเคราะห์เพื่อปรับกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมต่อไป

การวัดและประเมินผล
1) การประเมินผลการเรียนของผู้เข้ารับการอบรมโดยยึดตามการวัดผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในกระบวนวิชา วิเคราะห์และนำมาปรับปรุงในรุ่นต่อไป
2) การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานของผู้เข้ารับการอบรมโดยยึดตามการวัดผลที่ได้กำหนดไว้ในกระบวนวิชา วิเคราะห์และนำมาปรับปรุงในรุ่นต่อไป
3) การประชุมร่วมกับผู้นิเทศติดตามการฝึกปฏิบัติในพื้นที่ ระหว่างที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติเพื่อนำมาปรับปรุงในรุ่นต่อไป
4) การประเมินโดยผู้สำเร็จการศึกษา โดยส่งแบบประเมินที่ประเมินครอบคลุมทุกองค์ประกอบไปให้ผู้เข้ารับการอบรมภายหลังกลับไปปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมภาคทฤษฎี
  2. การอบรมภาคปฏิบัติ
  3. ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานและประเมินการจัดการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง
  4. การบรรยายวิชาภาคทฤษฎีเป็นการเรียนแบบ Online ผ่านระบบ e-learning
  5. การจัดการเรียนการสอนในวิชาฝึกปฏิบัติการจัดประสบการณ์พัฒนาเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ฝึก ปฏิบัติในแหล่งฝึกของผู้เข้าอบรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  6. ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานและประเมินการจัดการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเชิงทะเล ตำบลเชิงทะเล อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
  7. ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานและประเมินการจัดการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง ณ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลออนใต้ ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่
  8. ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานและประเมินการจัดการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง ณ โรงเรียนเทศบาลเมืองนครพนม (ยงใจยุทธ) ตำบลสามารถ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
  9. การนำเสนอผลงาน การอภิปรายกลุ่ม ฝึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกระบวนการ PLC ของแต่ละศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ร่วมโดยคณาจารย์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผู้บริหารทางการศึกษาของ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การบรรยายวิชาภาคทฤษฎีเป็นการเรียนแบบ Online ผ่านระบบ e-learning

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การประชุมชี้แจงรายละเอียดกระบวนวิชาการฝึกปฏิบัติการจัดประสบการณ์พัฒนาเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยลักษณะกระบวนวิชา วัตถุประสงค์ เนื้อหากระบวนวิชา ทักษะการเรียนรู้ กิจกรรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการประเมินผลทักษะการเรียนรู้และการประเมินผลกระบวนวิชา แก่ครูผู้สอนและผู้บริหารทางการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  2. การบรรยายวิชาภาคทฤษฎีเป็นการเรียนแบบ Online ผ่านระบบ e-learning ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมีสื่อการเรียนการสอนและกิจกรรมในห้องเรียนแต่ละวิชา เช่น วิดิโอการสอน, การรับ-ส่งงาน, การอภิปรายกลุ่ม, การทำแบบทดสอบ การนิเทศติดตามผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลัพธ์การเรียนรู้ที่าอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้ระบุไว้ ดังนี้
1. เพื่อให้ครูปฐมวัยได้รับการพัฒนาทักษะเดิม (up-skill) ในด้านสมรรถนะหลัก (core competency) ที่เป็นคุณลักษณะของครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 1.1 ผู้เข้าอบรมได้พัฒนาสมรรถนะหลัก ดังนี้
1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน 2) การบริการที่ดี
3) การพัฒนาตนเอง
4) การทำงานเป็นทีม และ
5) จริยธรรมและจรรยาบรรณครู

  1. เพื่อให้ครูปฐมวัยได้รับการปรับปรุงทักษะ (re-skill) ในด้านสมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (functional competency) ที่สามารถออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.1 ผู้เข้าอบรมได้พัฒนาสมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน ดังนี้ 1) การบริหารหลักสูตรและ การจัดการเรียนรู้
    2) การพัฒนาผู้เรียน
    3) การบริหารจัดการชั้นเรียน
    4) การวิเคราะห์สังเคราะห์และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
    5) ภาวะผู้นำครู และ
    6) การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน
    2.2 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 จากการฝึกปฏิบัติของครูปฐมวัย ประกอบด้วย ทักษะด้านความรู้ (Hard Skills) ได้แก่
    1) Reading สามารถอ่านออก อ่านจับใจความได้
    2) (W) Riting สามารถเขียนได้ สื่อสารให้คนอื่นเข้าใจ
    3) (A) Rithemetics มีทักษะการคำนวณ คิดแบบนามธรรม และทักษะทางอารมณ์ (Soft Skills) ได้แก่
      1) Critical thinking and problem solving มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและสามารถแก้ไขปัญหาได้   2) Creativity and innovation มีความคิดอย่างสร้างสรรค์และคิดเชิงนวัตกรรม
      3) Cross-cultural understanding มีความเข้าใจในความแตกต่างของวัฒนธรรมและกระบวนการคิดข้ามวัฒนธรรม
      4) Collaboration teamwork and leadership เกิดความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะความเป็นผู้นำ
      5) Communication information and media literacy มีทักษะในการสื่อสารและการรู้เท่าทันสื่อ
      6) Computing and IT literacy มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และรู้เท่าทันเทคโนโลยี
      7) Career and learning skills มีทักษะอาชีพและการเรียนรู้
      8) Compassion มีความเมตตากรุณา มีคุณธรรม และมีระเบียบวินัย

3.เพื่อส่งเสริมการสร้างเครือข่ายชุมชนวิชาชีพในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการบวนการ PLC (Professional Learning Community)
3.1 ผู้เข้าอบรมได้พัฒนาบทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ได้ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือ สนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ และได้เรียนรู้ทักษะในการทำหน้าที่โดยรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เรียนรู้ การทำงานเป็นทีมของเพื่อนครู เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการและเทคนิคและวิธีการสอน

 

40 0

2. การจัดการเรียนการสอนในวิชาฝึกปฏิบัติการจัดประสบการณ์พัฒนาเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ฝึก ปฏิบัติในแหล่งฝึกของผู้เข้าอบรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การจัดการเรียนการสอนในวิชาฝึกปฏิบัติการจัดประสบการณ์พัฒนาเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ฝึกปฏิบัติในแหล่งฝึกของผู้เข้าอบรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
    ฝึกปฏิบัติตามหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้

- หน่วยการเรียนรู้ช่วงอายุต่ำกว่า 3 ปี - หน่วยการเรียนรู้ช่วงอายุต่ำกว่า 3-5 ปี - การออกแบบหลักสูตรการบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
- การฝึกปฏิบัติการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรการบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 สำหรับเด็กปฐมวัย

  1. การนำเสนอผลงาน การอภิปรายกลุ่ม ฝึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกระบวนการ PLC ของแต่ละศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร่วมโดยคณาจารย์ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผู้บริหารทางการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ครูได้รับการพัฒนาทักษะเดิม (up-skill) โดยการพัฒนาสมรรถนะในด้านสมรรถนะหลัก (core competency) คือ
    1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน (working achievement motivation)
    2) การบริการที่ดี (service mind)
    3) การพัฒนาตนเอง (self-development)
    4) การทำงานเป็นทีม (teamwork) และ
    5) จริยธรรมและจรรยาบรรณครู (teacher’s ethics and integrity)

  2. ครูได้รับการสร้างทักษะใหม่ (re-skill) โดยการพัฒนาสมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (functional competency) คือ
    1) การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (curriculum and learning management)
    2) การพัฒนาผู้เรียน (student development)
    3) การบริหารจัดการชั้นเรียน (classroom management)
    4) การวิเคราะห์สังเคราะห์และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน (analysis synthesis and classroom research)
    5) ภาวะผู้นำครู (teacher leadership)
    6) การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน (relationship and collaborative-building for learning management)

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

  1. เพื่อให้ครูปฐมวัยได้รับการพัฒนาทักษะเดิม (up-skill) ในด้านสมรรถนะหลัก (core competency) ที่เป็นคุณลักษณะของครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21
  2. เพื่อให้ครูปฐมวัยได้รับการปรับปรุงทักษะ (re-skill) ในด้านสมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (functional competency) ที่สามารถออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างเครือข่ายชุมชนวิชาชีพในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการบวนการ PLC (Professional Learning Community)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. ครูได้รับการพัฒนาทักษะเดิม (up-skill) โดยการพัฒนาสมรรถนะในด้านสมรรถนะหลัก (core competency)
2. ครูได้รับการสร้างทักษะใหม่ (re-skill) โดยการพัฒนาสมรรถนะตามสายปฏิบัตงาน (functional competency)
3. เกิดหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 สำหรับเด็กปฐมวัย
4. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 จากการฝึกปฏิบัติของครูปฐมวัย
5. ครูมีการสร้างเครือข่ายชุมชนวิชาชีพในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการบวนการ PLC (Professional Learning Community)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
1) การประชุมคณาจารย์ผู้สอนรายวิชาในหลักสูตร พัฒนาเทคนิคในการจัดการเรียนการสอนร่วมกันเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มผู้เรียนมากยิ่งขึ้น
2) การประชุมเพื่อปรับรูปแบบการฝึกปฏิบัติให้มีความสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายในแต่ละบริบทพื้นที่ โดยจัดประชุมภายหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน
3) การประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อพิจารณาวางแผนการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป

ผู้สอนและผู้นิเทศ
1) การประเมินผลการสอนโดยผู้เข้าร่วมอบรมในด้านต่างๆ ได้แก่ ความสามารถในการถ่ายทอด/สื่อสาร เนื้อหาสาระครบถ้วนและน่าสนใจ สื่อประกอบการสอน การเปิดโอกาสให้ซักถามและแสดงความคิดเห็น การตอบคำถามในรายวิชา และนำผลการประเมินมาวิเคราะห์เพื่อปรับกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมต่อไป

การวัดและประเมินผล
1) การประเมินผลการเรียนของผู้เข้ารับการอบรมโดยยึดตามการวัดผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในกระบวนวิชา วิเคราะห์และนำมาปรับปรุงในรุ่นต่อไป
2) การประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานของผู้เข้ารับการอบรมโดยยึดตามการวัดผลที่ได้กำหนดไว้ในกระบวนวิชา วิเคราะห์และนำมาปรับปรุงในรุ่นต่อไป
3) การประชุมร่วมกับผู้นิเทศติดตามการฝึกปฏิบัติในพื้นที่ ระหว่างที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติเพื่อนำมาปรับปรุงในรุ่นต่อไป
4) การประเมินโดยผู้สำเร็จการศึกษา โดยส่งแบบประเมินที่ประเมินครอบคลุมทุกองค์ประกอบไปให้ผู้เข้ารับการอบรมภายหลังกลับไปปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หลักสูตรพัฒนาสมรรถนะครูในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0052

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด